อาชีพนักสืบ เป็นอาชีพ ที่ใคร ๆ ก็สามารถ จะเป็นได้ แต่สำหรับใคร ที่ต้องการ ที่จะเป็น นักสืบมืออาชีพ ก็ต้อง มีความรู้ ที่เจาะลึก ซึ่งวันนี้ เราจะมาแนะนำ คณะ ที่สามารถ ต่อยอด เป็น อาชีพนักสืบ ได้
นิติศาสตร์ ( Faculty of Law )
มีการเรียนการสอน เกี่ยวกับ ข้อกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ และยังมี การฝึกทักษะ ความรู้ ควบคู่กับการสืบสวน สอบสวนคดีต่าง ๆ อีกด้วย เพื่อความยุติธรรม และการใช้กฎหมาย ในเชิงคุณธรรมด้วย
เพราะ อาชีพนักสืบ จำเป็นต้อง รู้เรื่องกฎหมาย เพื่อใช้ในการ สืบสวนคดีต่าง
คณะนิติศาสตร์ ในไทย เปิดสอนในหลายมหาวิทยา
จิตวิทยา ( Faculty of Psychology )
เป็นคณะ ที่เกี่ยวข้อง กับการ ทำความเข้าใจ การศึกษาเรียนรู้จิตใจ หรือความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ ควบคู่ กับการใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น กระบวนการ การรับข้อมูลของมนุษย์ อารมณ์ บุคลิกภาพ พฤติกรรม และรูปแบบความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลต่าง ๆ
อาชีพนักสืบ ควรมี การเข้าใจความคิด จิตใจ และพฤติกรรมของคน ที่แตกต่างกัน เพื่อหาแรงจูงใจ และคาดการณ์ ถึงพฤติกรรม ผู้ที่เรา กำลัง ตามสืบอยู่
คณะจิตวิทยา เป็นคณะ ที่เปิดสอน อย่างแพร่หลาย บางที่ เป็นหนึ่งสาขา ที่อยู่ภายใต้ คณะมนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ หรือสังคมศาสตร์
สังคมวิทยา และ มานุษยวิทยา ( Faculty of Sociology and Anthropology )
คณะนี้ มีเปิดสอนที่ธรรมศาสต
คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ( Science and Technology )
คณะนี้ มีการใช้ วิทยาศาสตร์ เข้ามา มีส่วนร่วม กับการศึกษา เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการ วิธีการศึกษาค้นคว้า ที่ปฏิบัติได้โดย สังเกตการณ์ จากสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เช่น การศึกษาถึงปัญหา หรือสิ่งที่เกิดขึ้นว่า เกิดจากอะไร พยายาม เก็บหลักฐาน ของสาเหตุปัญหา ทำให้ ได้เรียนรู้ ถึงการสังเกต และฝึก การตั้งสมมติฐาน มากขึ้น
คณะนี้ สามารถต่อยอด ไปสอบเป็
นิติวิทยาศาสตร์ ( Forensic Science )
คณะนี้ เปิดสอนอย่างแพร่หลาย
เป็นวิชาเลือกเสรี ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่เปิดโอกาส ให้นักศึกษาทุกคน ที่ไม่เรียน คณะวิทยาศาสตร์ หรือนิติศาสตร์ ได้เข้ามาศึกษา เรียนรู้ทักษะ การสืบสวน สอบสวน หาข้อเท็จจริง เกี่ยวกับคดีความต่าง ๆ
นอกจากนี้ วิชานิติวิทยาศาสตร์ ยังอยู่ในคณะ และสาขา ของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ นอกจาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น เช่น คณะนิติวิทยาศาสตร์ สำหรับปริญญาโท (แต่การศึกษาต่อ จำเป็นต้องจบ ในระดับปริญญาตรี สายวิทยาศาสตร์ ทุกแขนง เท่านั้น)
มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ ปริญญาโทสาขานิติวิทยาศาสตร์, หลักสูตรนิติวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ, หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ ของภาควิขานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นต้น